• ช่วยเพื่อนผมด้วย
  • เตรียมงานศพพ่อเถอะลูก


 



















 

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter

                                                                                                                           

     GTF สารอาหารงาวิจัยทางการแพทย์

      ระดับนานาชาติหลายรางวัล


  นวัตกรรมฟื้นฟูเซลล์
                 ด้วยสารอาหารแห่งศตวรรษที่ 21                       

  นำมาใช้ฟื้นฟูภาวะไตวายเรื้อรังได้ผลดี

 

ช่วยฟื้นฟูไตเสื่อมระยะ 1-4

เห็นผลดีขึ้นในหนึ่งเดือน

 

เห็นผลจากผู้ใช้จำนวนมาก

 

                                    

 

                  

(ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)

 

             

(ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)

 

 

(ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล) 

 

ผลลัพธ์อาจเปลี่ยนแปลงไปแต่ละบุคคล

(โปรดสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ดูแลเว๊บไซด์)

 

                       ก่อนทาน GT&F พบไตเสื่อมระดับ 4.3                              หลังทาน GT&F ไตเสื่อมลดเหลือระดับ 2.2                                                                                (คุณยายเสี้ยน คำโหลน)                          

 

                                                       

 

(ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)   

 

 

                                 (ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)       

 

                                 

                     (ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)                     

                                                                                  

                                               

     ก่อนใช้ : คุณหิรัญ อิ่นคำ  ที่อยู่ : ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่  ป่วยด้วยโรคเบาหวาน และความดัน จนทำให้ไตวาย  และได้ฟอกไตทางช่องท้อง โดยทำเองที่บ้านวันละ 3 ครั้งๆละ 30 นาที  ทานอาหารได้น้อย และมีอาการเหนื่อย


     หลังใช้ : หลังจากทาน gtf แบบแคปซูล วันละ 3 มื้อๆ ละ 2 แคปซูล ผู้ป่วยมีอาการสดชื่นขึ้นมาก และทานอาหารได้มากขึ้น

                                                     

 (ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)

 

                                           

                                                                                                                                          

     หยุดไตวายเรื้อรังวันนี้...ก่อนสายเกินแก้

GTF ทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับคุณ

 

 

ราคา 2,300 บาท เก็บเงินปลายทาง

แบบผง 1 กล่อง บรรจุ 30 ซอง 

แบบแคปซูล 1 กล่อง บรรจุ 60 แคปซูล

ทานได้ 15-30 วัน

เห็นผลบำบัดใน 15-30 วัน

 

 

 

สนใจสั่งซื้อติดต่อ

โทร.089-6942954  Line ID : gtfhealthy 

แอดไลน์คลิก:https://line.me/R/ti/p/%40gtfhealthy

คลิก: Facebook https://www.facebook.com/ThaiGtfKhonKaen

 

 

                                                                                                                                

สาร GTF ในนมผง GT&F ช่วยฟื้นฟูผู้ป่วยไตวายเรื้อรังได้อย่างไร

 

 1.ช่วยควบคุมสารอาหารต่างๆ ได้แก่ น้ำตาล  กรดอมิโน และกรดใขมัน ให้เข้าสู่เซลล์ได้ตามปกติ  และทำให้การเผาผลาญสารอาหารเหล่านี้เป็นไปตามปกติ ทำให้เซลล์ต่างๆได้รับพลังงานตามปกติ  ทำให้ช่วยฟื้นฟูสภาพแก่เซลล์ต่างๆได้  ทำให้เซลล์ของไตแข็งแรงขึ้น

 

2.การที่สารอาหาร GTF สามารถควบคุมการดูดซึมน้ำตาลเข้าสู่เซลล์ให้เป็นปกติได้  ทำให้ช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ให้สูงเกินไป  ไตก็ไม่ต้องทำงานหนักเพื่อกรองน้ำตาลกลับสู่กระแสเลือดอีกต่อไป

 

3.เมื่อใขมันที่อยู่ในเส้นเลือดถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ได้ตามปกติ  จึงทำให้ปริมาณใขมันในเลือดลดลง  เลือดก็ลดความหนืดข้น   หัวใจก็ทำงานน้อยลง  เป็นผลให้ความดันโลหิตลดลง ทำให้ไตทำงานเบาลง

 

4.เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดลดลง  ความดันเลือดลดลง  ทำให้อาการแทรกซ้อนอื่นๆก็ลดลง  ความจำเป็นในการใช้ยาเพื่อควบคุมอาการต่างๆก็ลดลง  จึงสามารถลดปริมาณการใช้ยาลงได้  ทำให้ไตไม่ต้องทำงานหนักเพื่อกรองยาที่หมดสภาพออกนอกร่างกาย  ช่วยลดภาวะไตเสื่อมได้อีกทางหนึ่ง 

 

5.จากองค์ประกอบทั้งหลายที่ส่งเสริมกันนี้  จึงทำให้ภาวะไตเสื่อมค่อยๆลดระดับลงได้

 

6.และหากผู้ป่วยที่ไตวายและต้องฟอกไตแล้ว  การใช้สาร GTF ยัง ทำให้เลือดสะอาดขึ้น จึงช่วยให้ลดความถี่ในการฟอกไตได้  และช่วยลดอาการเหนื่อยเพลียของผู้ป่วยได้  ช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีก่วาการใช้ยาและการฟอกไตเพียงอย่างเดียว 

 

 

 

 



โรคไตวายเรื้อรัง

 

 

ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงจะเป็นผลเสียต่ออวัยวะในร่างกายรวมทั้งไต โรคเบาหวานเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดไตเสื่อมหรือไตวายมากที่สุด ผู้ป่วยช่วงแรกจะไม่มีอาการอะไรเลยจนกระทั้งไตเสื่อมมากจึงจะเกิดอาการของไตวาย โรคเบาหวานทำให้ไตมีการทำงานมากขึ้นในที่สุดก็จะมีการสูญเสียสารอาหาร และโปรตีนในปัสสาวะ เบาหวานเป็นสาเหตุที่สำคัญของโรคไตวายเรื้อรังเนื่องจาก ผู้ป่วยเบาหวานมีชีวิตยาวขึ้น มีอุบัติการณ์ของเบาหวานเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะชนิดที่สอง ร้อยละ20-30 ของผู้ป่วยเบาหวานพบว่ามีไข่ขาวในปัสสาวะ แต่มีเพียงร้อยละ 20ที่จะกลายเป็นโรคไต  ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่หนึ่งถ้ามี ใข่ขาวในปัสสาวะ แล้วไม่ได้รักษาร้อยละ 50 จะเป็นโรคไตวายเรื้อรังใน 10 ปี มากกว่าร้อยละ 75ในเวลา 20 ปี โดยโรคเบาหวานเกี่ยวข้องกับเบาหวานใน 3 สาเหตุคือ
     1.การเป็นเบาหวานทำให้เซลล์ต่างๆรวมทั้งเซลล์ของไตขาดพลังงานอยู่ตลอดเวลา  จึงทำให้เซลล์เสื่อมสภาพการทำงานต่างๆก็ทำได้ไม่ดีดังเดิม  ทำให้กลไกของไตเสื่อมไปด้วย
     2.การที่ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงอยู่ตลอดจะทำให้ไตทำงานหนักอยู่ตลอดจนเกิดการเสื่อมสภาพ  เพราะไตมีหน้าที่กรองสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายให้คงไว้ในร่างกายให้มากที่สุด  และน้ำตาลก็เป็นสารอาหารที่ดีดังนั้นไตจึงต้องทำงานหนักอยู่ตลอดหากน้ำตาลในเลือดสูง

       3.การที่ผู้ป่วยเบาหวานต้องใช้ยาเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และรักษาอาการแทรกซ้อนต่างๆอยู่ตลอดทุกวัน  ไตซึ่งมีหน้าที่กำจัดของเสียต่างๆรวมทั้งยาที่หมดสภาพก็ต้องทำงานหนักอยู่ทุกวันจึงทำให้ไตล้าและเสื่อมสถาพได้เช่นเดียวกัน

 

      เบาหวานลงไต

 

ไตเป็นอวัยวะที่มีรูปร่างคล้ายถั่ว  มี 2 ข้าง อยู่ทางด้านหลังนอกช่องท้อง  และมีหน้าที่ 2 ประการใหญ่ๆคือ

  1. ควบคุมระดับเกลือแร่ต่างๆให้เป็นปกติ และขับของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ
  2. สร้างฮอร์โมนและสารต่างๆ  ฮอร์โมนที่สำคัญคือเออริโทรพอยเอติน  ซึ่งทำหน้าที่กระตุ้นไขสันหลังให้สร้างเม็ดเลือดแดง

        ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไตประมาณ 1 ล้านหน่วย  แต่ละหน่วยประกอบด้วยตัวกรองและหลอดไต
ในแต่ละวันมีเลือดไหลเวียนผ่านไตประมาณ 180 ลิตร  และหน่วยไตจะกรองและคัดหลั่งสารต่างๆ และขับออกมาเป็นปัสสาวะวันละประมาณ 1 ลิตร
คนเราสามารถมีชีวิตโดยปกติได้โดยอาศัยไตเพียงข้างเดียว  ภาวะไตวายจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีความผิดปกติในการทำงานของไตทั้งสองข้าง  โดยสามารถแบ่งเป็น 2 แบบคือ

        1.ไตวายเฉียบพลัน
คือเกิดขึ้นเพียงระยะเวลาหนึ่งแต่เมื่อแก้ไขที่ต้นเหตุได้อาการนี้ก็หายไปได้  สาเหตุเกิดจากภาวะที่เลือดหรือสารน้ำไปเลี้ยงไตลดลง  การได้รับยาหรือสารพิษที่เป็นพิษต่อไต

 

         2.ไตวายเรื้อรัง  

ถึงแม้จะทำการแก้ไขที่ต้นเหตุแล้วก็จะยังมีการเสื่อมของไตมากขึ้นไปเรื่อยๆ  จนนำไปสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในที่สุด  โดยสาเหตุที่พบบ่อยได้แก่ โรคเบาหวาน  การอักเสบเรื้อรังของตัวกรองของไตหรือหลอดไต  โรคไตจากความดันโลหิตสูง  การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ(จากนิ่ว ต่อมลูกหมาก)  โรคถุงน้ำโป่งพองในไตแต่กำเนิด  โรคเกาต์  โรคไตซึ่งเกิดจาการรับประทานยาแก้ปวดเป็นระยะเวลานาน และโรคเอสแอลอีโดยการตรวจสอบว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นที่ไตหรือไม่สามารถตรวจสอบได้จากตัวชี้วัด 2 ตัว  คือ

      1.ค่าปริมาณยูเรียไนโตรเจนในเลือด หรือ BUN (Blood urea nitrogen) โดยค่านี้แสดงถึงระดับของเสียที่เกิดจากการย่อยสลายโปรตีนและคั่งค้างในกระแสเลือด  ค่าปกติคือ 10-20 มิลลิกรัม/เดซิลิตร  ดังนั้นหากไตทำงานได้แย่ลงก็จะทำให้ค่า BUN มีค่าเพิ่มขึ้น
      2.ค่าปริมาณสารครีเอตินีน  ซึ่งแสดงการทำงานของไต  ถ้าการทำงานของไตลดลงค่าครีเอตินีนจะสูงขึ้น
กล่าวโดยรวมหากการทำงานของไตแย่ลงตัวชี้วัดทั้งสองจะมีค่าสูงขึ้น  แต่ค่าครีเอตินีนนั้นจะบอกการทำงานของไตได้เด่นชัดกว่าค่า BUN

 

         การดำเนินไปของโรคไตจากเบาหวาน

 

โดยปัจจุบันเบาหวานเป็นสาเหตุหลักในการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย  โดยมีการส่งผลต่อไตเป็น 5 ระยะดังนี้
ระยะที่ 1. เกิดขึ้นทันทีเมื่อเริ่มเป็นเบาหวาน  เป็นระยะที่ไตมีขนาดใหญ่ขึ้น เลือดไปเลี้ยงไตมากขึ้น แต่ยังไม่มีอาการแสดงของโรคในระยะนี้
ระยะที่ 2. เกิดภายหลังจากเป็นเบาหวานแล้วประมาณ 2 ปี  โดยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพที่ตัวกรองไต  แต่ก็ยังไม่แสดงอาการ
ระยะที่ 3. เกิดภายหลังจากเป็นเบาหวานแล้ว 10-15 ปี โดยอาการที่พบคือเริ่มตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะในปริมาณเล็กน้อย  และมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปี  โดยหากมีภาวะความดันโลหิตสูงร่วมด้วยจะยิ่งทำให้เกิดการเสื่อมของไตเร็วขึ้น
ระยะที่ 4. เกิดหลังจากเป็นเบาหวานนาน 15-20 ปี  เริ่มตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 0.5 กรัมต่อวัน  และพบการเสื่อมของไตอย่างต่อเนื่องโดยจะมีอัตราการเสื่อมเร็วกว่าคนปกติถึง 10 เท่า  และหากไตทำงานได้เพียงร้อยละ  20 ของภาวะปกติ  จะมีของเสียคั่งค้างมากจนทำให้เกิดอาการต่างๆ เช่น  เบื่ออาหาร  คลื่นใส้  อาเจียน  ไม่มีแรง  รู้สึกหนาวง่าย  และจะมีอาการเหล่านี้มากขึ้นหากผู้ป่วยมีอาการซีดเนื่องจากปริมาณเม็ดเลือดแดงต่ำลง

ระยะที่ 5.เป็นไตวายระยะสุดท้าย  การทำงานของไตลดลงเหลือไม่ถึงร้อยละ 5 ของภาวะปกติ  มีของเสียคั่งอยู่ในร่างกายจำนวนมาก  ปัสสาวะลดลงจนเกือบไม่มี  ผู้ป่วยอาจซึมจนไม่รู้สึกตัว  และเสียชีวิตในเวลาไม่นานหากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม เช่นการล้างไต

 

          การตรวจสอบความเสื่อมของไตว่าอยู่ในระยะใด

 

ในอันดับแรกสามารถประมาณได้จากระยะเวลาที่ป่วย  แต่ผู้ป่วยบางรายอาจไม่ทราบแน่ชัดว่าตัวเองเริ่มป่วยมานานแค่ไหนเพราะไม่มี การตรวจร่างกายอย่างต่อเนื่องทำให้ไม่ทราบระยะเวลาที่แน่นอน
- อาการที่แสดงว่าไตเสื่อมอยู่ในระยะที่ 3 แล้วจะทราบได้โดยการตรวจปัสสาวะ  โดยจะเริ่มแสดงอาการด้วยการมีโปรตีนแอลบูมินรั่วออกมาทางปัสสาวะในปริมาณน้อย  โดยต้องตรวจด้วยวิธีพิเศษเรียกภาวะนี้ว่า ไมโครแอลบูมินยูเรีย

-เมื่อเริ่มเข้าสู่ไตเสื่อมระยะที่ 4 จะมีโปรตีนรั่วออกมามากขึ้นจนสามารถตรวจพบโดยวิธีปกติ  หากมีการเสื่อมมากขึ้นจนไตทำงานได้น้อยกว่าร้อยละ 50 ของภาวะปกติ  จะสามารถตรวจพบได้อย่างชัดเจนจากค่า BUNและค่าครีเอตินีน ผู้ป่วยที่มีไตเสื่อมในระยะที่ 4 และ 5 ควรได้รับการตรวจเลือดเพื่อสังเกตการณ์ทำงานของไตเป็นระยะๆ

 

              

     

    การรักษา

 

การบำรุงร่างกายสำหรับผู้มีอาการเสื่อมของไตนั้นมีปัจจัยที่ต้องคำนึงหลายอย่างดังนี้

      1.การควบคุมเบาหวานโดยการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติโดยเคร่งครัดนั้น  มีความความสำคัญต่อการรักษาในเกือบทุกระยะ  เพราะหากควบคุมระดับน้ำตาลให้ต่ำอยู่ตลอดไตก็จะทำงานน้อยลงโอกาสเสื่อมก็ลดลง
      2.การควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติก็เป็นตัวช่วยชะลออาการเสื่อมของไตช้าลงได้  เหตุผลก็เช่นเดียวกับข้อ คือทำให้ไตทำงานน้อยลง
      3.การควบคุมปริมาณโปรตีนที่รับประทานในแต่ละวัน  เพราะปริมาณโปรตีนที่สูงจะทำให้เลือดไปเลี้ยงที่ไตมากขึ้นทำให้ไตทำงานหนัก  และปริมาณโปรตีนยังก่อให้เกิดการคั่งของยูเรียในเลือดมากขึ้น  ทำให้เกิดอาการคลื่นใส้  อาเจียน  ทำให้ไตที่เสื่อมอยู่แล้วมีการเสื่อมมากขึ้น   โดยผู้ป่วยเบาหวานที่มีโรคไตควรรับประทานโปรตีนต่ำกว่าคนปกติ  และผู้ป่วยที่มีอาการไตเสื่อมควรรับประทานโปรตีนในขนาดไม่เกิน 0.6 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน
       ผู้ป่วยไตเสื่อมระยะที่ 4 มักมีอาการซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง  จึงควรเสริมด้วยธาตุเหล็กและกรดโฟลิค  การให้ธาตุเหล็กโดยการรับประทานมักไม่เพียงพอ  เนื่องจากการดูดซึมทางลำไส้ของผู้ป่วยมักผิดปกติ  ทำให้ดูดซึมธาตุเหล็กได้น้อย  อาจจำเป็นต้องให้ธาตุเหล็กทางเส้นเลือด  และมักต้องให้ฮอร์โมนเออริโทรพอยเอตินร่วมด้วยเสมอ

       สำหรับการรักษาโรคไตวายระยะสุดท้ายนั้นหากเปรียบร่างกายคนเราเป็นเหมือนเรือทั้งลำ  ไตเป็นส่วนท้องเรือ  เมื่อนำเรือลำนี้ไปลอยในสระน้ำซึ่งเป็นน้ำเน่าเสีย  ร่างกายคนที่ไตทำงานปกติเปรียบเสมือนเรือที่ท้องไม่มีรูรั่ว  น้ำเน่าก็จะไม่สามารถซึมเข้ามาในตัวเรือ  เมื่อไตเริ่มทำงานผิดปกติจึงเริ่มมีของเสียคั่งในร่างกาย  เปรียบเหมือนท้องเรือที่มีรูรั่วทำให้มีน้ำเน่าเสียรั่วเข้ามาขังอยู่ในเรือ  ในระยะนี้สามารถใช้ขันตักน้ำเน่าเสียออกจากเรือได้ทัน  ทำให้เรือไม่จม  เปรียบเหมือนการให้ยารับประทานที่สามารถแก้ไขสิ่งทีเกิดจากไตวายเรื้อรังที่มีความรุนแรงไม่มากได้    แต่เมื่อไตมีการเสื่อมสภาพมากขึ้นเหมือนกับท้องเรือมีรูรั่วขนาดใหญ่ขึ้น  มีปริมาณน้ำเน่าเสียไหลเข้ามามากขึ้น  ไม่สามารถใช้ขันตักน้ำออกได้ทัน  จำเป็นต้องใช้เครื่องสูบน้ำมาสูบน้ำเน่าเสียออกไป   คือต้องรักษาโดยการฟอกเลือดหรือล้างไตทางเส้นเลือดโดยอาศัยเครื่องไตเทียม  หรือล้างไตทางหน้าท้อง 

         โดยการรักษาทั้งสองแบบ ไม่ได้เป็นการรักษาที่ต้นเหตุ   แต่การรักษาที่ดีที่สุดคือการเปลี่ยนไต  หรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไตซึ่งควรทำกับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเท่านั้นดังนั้นหากผู้ป่วยทั้งหลายรู้แล้วอย่างนี้  ควรเร่งป้องกันการลุกลามของไตวายให้เร็วที่สุดไว้ดีกว่า  อย่ารอจนเกิดไตวายลุกลามไปเรื่อยๆเลยนะครับ  เพราะนั่นหมายถึงอาจจะสายเกินแก้

                                                                                                 

     การป้องกัน

1.ควบคุมการควบคุมน้ำตาลให้ใกล้เคียงปกติให้มากที่สุด

2.การตรวจหาปริมาณไข่ขาวในปัสสาวะ

3.การคุมความดันโลหิตสูง 130/85 mmHg

4.การควบคุมอาหารโปรตีนต่อการเปลี่ยนแปลงโรคไต ถ้าไตยังเสื่อมไม่มากให้รับประทานโปรตีน0.8 ก/กม/วัน ถ้าไตเสื่อมมากขึ้นให้ลดเหลือ 0.6 ก/กม/วัน ซึ่งจะชะลอการเสื่อมของไต

5.การรักษาการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ เช่นกระเพาะปัสสาวะอักเสบ หรือกรวยไตอักเสบ การเลือกยาปฏิชีวนะต้องระวังอย่าให้มีผลกระทบต่อไต

          สนใจสั่งซื้อสินค้าโทร. 089-841-5309  LINE ID :redbike2014

แอดไลน์คลิก:http://line.me/ti/p/Qlm3zx-Y5d

Facebook https://www.facebook.com/ThaiGtfKhonKaen

 




  

หน้าหลัก |  ข้อมูลหน่วยงาน | องค์ประกอบที่สำคัญ | รางวัลการันตี | ติดต่อเรา 

สงวนลิขสิทธิ์ตามกฏหมายโดย www.thaigtf.com