• ช่วยเพื่อนผมด้วย
  • เตรียมงานศพพ่อเถอะลูก


 



















 

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter

 

 

ผลลัพธ์อาจเปลี่ยนแปลงไปแต่ละบุคคล

(โปรดสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ดูแลเว๊บไซด์)

                    
            (ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)                               
 
         
           (ผลลัพธ์ที่ได้อาจเกิดในแต่ละบุคคล)                                    
 

         

ก่อนใช้ : พระอาจารย์ใบฎีกาศิริ พุทธิสาโร อายุ 59 ปี  ที่อยู่ : ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมือง จ.นครปฐม

              ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคไต มีระดับน้ำตาลสูงถึง 289 มก% เคยป่วยจนติดเชื้อในกระแสเลือด

              จนไตวายเฉียบพลัน ทำให้ปัสสาวะ และมีแผลเรื้อรัง ทำให้ปวดขา มีหนองมาก บางครั้งดูดหนอง

              ออกได้เกือบ 3 ลิตร นอนรักษาอยู่ที่โรงพยาบาลกว่า 4 เดือน มีหนองออกทุกวัน อาการไม่ดีขึ้น

                 

                          แผลก่อนใช้                                             หลังใช้ 7 วัน                                          หลังใช้ 1 เดือน

               (ผลลัพธ์อาจเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละบุคคล)

    หลังใช้ : แผลหายร็วไม่มีหนองแล้ว แผลหายเกือบจะเป็นปกติภายใน 1 เดือน สามารถล้างแผลเองที่กุฏิได้ ไม่ต้องไปทำที่โรงพยาบาล น้ำตาลในเลือดลดลงเหลือ 118 มก % หายปวดขา และปัสสาวะกลับมาเป็นปกติ ขับถ่ายได้ตามปกติ

 

สารอาหาร GTF มีส่วนช่วยบำรุงร่างกายของผู้ป่วยแผลเรื้อรังได้อย่างไร 

1. ช่วยให้เซลล์สามารถดูดซึมสารอาหารต่างๆ ได้แก่ น้ำตาล กรดอะมิโน และกรดใขมันให้เข้าสู่เซลล์ได้ตามปกติ  และทำให้การเผาผลาญสารอาหารเหล่านี้เป็นไปตามปกติ   ทำให้เซลล์ต่างๆได้รับพลังงานและสารอาหาร ทำให้กิจกรรมของเซลล์ทำงานได้ดีขึ้น  ทำให้ช่วยฟื้นฟูสภาพเซลล์ต่างๆได้   แผลต่างๆ ที่ปลายมือปลายเท้าก็จะดีขึ้น  ความรู้สึกตัวด้านต่างๆจะดีขึ้น 


2.เมื่อใขมันที่อยู่ในเส้นเลือดถูกเผาผลาญในปริมาณที่เพิ่มขึ้น  ทำให้ปริมาณใขมันในเลือดลดลง ทำให้การไหลเวียนโลหิตดีขึ้น ลดการตีบตันของเส้นเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงแผล เซลล์ประสาทต่างๆจึงได้รับสารอาหารมากขึ้น ช่วยฟื้นฟูสภาพเซลล์ให้คืนกลับมา ทำให้ความรู้สึกตัวด้านต่างๆดีขึ้นตามไปด้วย

3.นอก จากนี้ยังช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดลดลงเป็นประโยชน์ในการช่วยให้การลดการติดเชื้อของแผลเรื้อรังต่างๆลงได้  เพราะน้ำตาลในเลือดซึ่งเป็นอาหารของเชื้อจุลินทรีย์ลดปริมาณลง

4.การที่ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ทำให้การละลายของอ๊อกซิเจนในเลือดเพิ่มขึ้น และอ๊อกซิเจนถูกนำไปหล่อเลี้ยงเซลล์รอบๆแผลได้มากขึ้น เซลล์รอบๆแผลก็จะทำงานได้ดีขึ้น การสมานแผลก็จะทำได้เร็วขึ้น

 

  

หยุดแผลเรื้อรังวันนี้...ก่อนสายเกินแก้


 

GTF ทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับคุณ

 

โทร.089-694-2954   Line ID:@gtfhealthy

แอดไลน์ https://line.me/R/ti/p/%40gtfhealthy

 



โรคเบาหวานกับแผลเรื้อรัง

      โรคเบาหวานกับแผลเรื้อรังที่เท้า แผลที่เท้า           
ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสเกิดแผลที่เท้าและถูกตัดขาได้มากกว่าคนธรรมดาหลายเท่าตัว

      สาเหตุของการเกิดแผลที่เท้า

 

สาเหตุนั้นมีด้วยกันหลายองค์ประกอบซึ่งเป็นปัจจัยที่เสริมกันและกัน  การเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยมักจะเริ่มจากสาเหตุเล็กๆน้อยๆที่สามารถป้องกันได้  หรือบางครั้งอาจเกิดจากอุบัติเหตุเล็กๆน้อยๆที่สามารถป้องกันได้  เช่น  การตัดเล็บเท้าลึกเกินไป  การใส่รองเท้าคับเกินไป เป็นต้น

     ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลที่เท้า

 

     มีหลายปัจจัยด้วยกันโดยปัจจัยหลักๆได้แก่                         

 

   1.ปลายประสาทเสื่อม โดยสามารถแบ่งย่อยออกไปอีก 3 ข้อ

    1.1 ประสาทรับความรู้สึกเสื่อม ทำให้สูญเสียการรับความรู้สึกเจ็บปวดหรือความรู้สึกร้อนเย็น  ดังนั้นเมื่อเป็นแผลขึ้นแล้วผู้ป่วยมักไม่หยุดใช้เท้าเนื่องจากขาดความรู้สึกเจ็บปวด  แผลจึงเกิดการอักเสบลุลามมากขึ้น นอกจากนั้นเท้าของผู้ป่วยยังมีปัญหาเป็นตาปลาขึ้นได้ง่ายในจุดที่ลงน้ำหนักของเท้า  ซึ่งเป็นการหนาตัวขึ้นของชั้นผิวหนังในบริเวณที่ถูกกดทับมากๆในขณะเดิน  การกดทับตาปลาอาจทำให้เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังถูกทำลายเป็นโพรงที่มีการติดเชื้อและอักเสบแล้วแตกออกเป็นแผล
   
1.2 ประสาทควบคุมกล้ามเนื้อเสื่อม ทำให้กล้ามเนื้อเล็กๆที่เท้าลีบลง  กล้ามเนื้อที่เท้าไม่อยู่ในสภาพสมดุลเท้าของผู้ป่วยจึงผิดรูป  นิ้วเ
ท้าจิกลงคล้ายกรงเล็บ  ทำให้จุดรับน้ำหนักผิดไป   มีโอกาสเกิดตาปลาหรือแผลเป็นได้ง่าย
   
1.3 ประสาทอัติโนมัติเสื่อม ทำให้ระบบประสาทควบคุมเกี่ยวกับการหลั่งเหงื่อ  การหดและขยายตัวของหลอดเลือดเสียไป  ผิวหนังแห้ง  มีเหงื่ออกน้อย  และผิวหนังแตกได้ง่าย  โดยเฉพาะบริเวณที่มีการพับงอบ่อยๆ  เชื้อโรคอาจเข้าไปตามรอยแตกแล้วเกิดเป็นแผลลุกลามมากขึ้น  และยังทำให้เท้าบวม  รองเท้าจึงคับขึ้นและกดเท้าจนเป็นแผลได้          

 

    2. ความผิดปกติของหลอดเลือด

 

       เนื่องจากเกิดภาวะเส้นเลือดตีบแข็งจนบางครั้งก็อุดตัน  ซึ่งเกิดขึ้นได้ทั้งในหลอดเลือดแดงใหญ่และหลอดเลือดฝอย  ทำให้เกิดแผลที่เท้าขึ้นเองได้เนื่องจากเนื้อเยื่อขาดเลือดไปเลี้ยง  ซึ่งจะพบมากที่ปลายนิ้วเท้าทั้งห้าหรือส้นเท้า  ในผู้ป่วยบางรายซึ่งเกิดแผลจากสาเหตุอื่น  เช่น  อุบัติเหตุ  ของมีคม  เล็บขบ  ยุงกัดและการเกา เป็นต้น  การรักษาแผลให้หายเป็นไปได้ยากขึ้น  ทั้งนี้เนื่องจากหลอดเลือดเลือดตีบไม่มีเลือดไปหล่อเลี้ยงเพียงพอทำให้ไม่มีการสมานแผลการตีบตันขอหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานไม่ได้เกิดเพียงเฉพาะที่เท้าเท่านั้น  ยังเกิดกับหลอดเลือดอื่นๆด้วย  เช่น หลอดเลือดหัวใจและสมอง  นอกจากนี้ยังมีปัจจัยเสริมที่ทำให้มีการตีบตันเร็วและมากขึ้นอีกคือการสูบบุหรี่  ไขมันในเลือดสูง  และความดันโลหิตสูงเป็นต้น
      หากเราเปรียบเทียบแผลเป็นสมรภูมิรบ  เส้นเลือดเป็นทางลำเลียงเสบียงและอาวุธไปสู่สมรภูมิ  ทางลำเลียงต้องปลอดโปร่งจึงจะสามารถส่งอาวุธหรือยาปฏิชีวนะไปกำจัดข้าศึก หรือฆ่าเชื้อโรคได้เต็มที่  เมื่อปราบข้าศึกได้หมดสิ้นแล้วก็ต้องทำการซ่อมแซมบ้านเมือง  ซึ่งก็ต้องอาศัยทางลำเลียงเดียวกันนี้ขนส่งวัสดุก่อสร้าง  เปรียบได้กับการสมานแผลที่ต้องการอาหารในปริมาณที่เพียงพอ               

 

     3. การติดเชื้อแทรกซ้อน

 

แผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานมักจะมีการติดเชื้อร่วมด้วยอยู่เสมอ  โดยเฉพาะการมีเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน  ทำให้การอักเสบลุกลามมากขึ้น  เกิดเส้นเลือดฝอยอุดตันทำให้เนื้อเยื่อที่ขาดเลือดส่งกลิ่นเหม็นเน่าได้  ยิ่งหากมีภาวะแทรกซ้อนทางประสาทและหลอดเลือดด้วยแล้ว  โอกาสที่จะรักษาให้หายยิ่งยากมากขึ้น  ซึ่งเป็นปัจจัยร่วมที่ทำให้ผู้ป่วยต้องถูกตัดขา


 

 

  การรักษา

 

การรักษาแผลที่เท้าแบ่งออกได้เป็น 2 ระยะ 

    1.การรักษาเบื้องต้น 

 

      เมื่อเป็นแผลจากของมีคมหรือแผลขีดข่วน  ควรล้างแผลให้สะอาดด้วยน้ำอุ่นและสบู่  เช็ดให้แห้งและใส่ยาฆ่าเชื้อ  เช่น เบตาดีนอย่างเจือจาง (น้ำยาเบตาดีน 1 ส่วนต่อน้ำเกลือนอร์มัล 3 ส่วน)  ปิดแผลด้วยผ้าปิดแผลที่แห้งและผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว  ไม่ควรใช้พลาสเตอร์ปิดแผลโดยตรง และไม่ควรใช้ยาฆ่าเชื้อที่มีสีติดผิวหนังซึ่งล้างออกยาก  ถ้าหากแผลบามแดงขึ้นมีน้ำเหลืองออกมา  แม้ว่าจะไม่มีความเจ็บปวดก็ควรรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว ในบริเวณซอกนิ้วซึ่งอับชื้นอาจเกิดเชื้อราขึ้นได้  จึงควรหมั่นเช็ดให้แห้งและควรเปลี่ยนถุงเท้าบ่อยๆมากกว่า 1 ครั้งต่อวัน  หรือไม่ใส่รองเท้าที่ปิดอัติดต่อกันนานๆ บริเวณที่เป็นตาปลาควรได้รับการตัดออกอย่างสม่ำเสมอ  เพื่อไม่ให้แข็งมากจนทำให้กดเนื้อใต้ผิวหนังเกิดเป็นเนื้อตาย  การตัดตาปลาต้องทำโดยผู้มีความชำนาญ  เช่น  แพทย์หรือพยาบาลเฉพาะทาง  นอกจากนี้อาจต้องทำรองเท้าพิเศษขึ้นเพื่อลดหรือเปลี่ยนจุดลงน้ำหนักของเท้าเพื่อไม่ให้เป็นแผล

 

      2.การรักษาโดยแพทย์  ทั้งนี้ขึ้นกับความรุนแรงของแผล  ซึ่งจะมีหลักการใหญ่ๆดังนี้

 

      2.1 การทำแผล   หากมีหนองคั่งต้องเปิดแผลให้กว้างเพื่อระบายหนองออก  ตัดเนื้อเน่าหรือเนื้อตายออก ล้างด้วยน้ำเกลือหรือน้ำยาเบตาดีนเจือจาง  แล้วปิดแผลด้วยผ้ากอซชุบด้วยสารละลายข้างต้น  ควรทำแผล 2-4 ครั้งต่อวัน  และรักษาแผลให้มีความชุ่มชื้นอยู่เสมอ
     
2.2 การใช้ยาปฏิชีวนะ   จะอยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ว่าควรใช้ยาชนิดใดและให้ยาโดยการรับประทาน  หรือฉีดเข้กล้ามเนื้อหรือหลอดเลือด  โดยแพทย์จะพิจารณาตามลักษณะและความรุนแรงของแผล
  
2.3 การหยุดพักบริเวณที่เป็นแผล  โดยหากเป็นจุดที่ลงน้ำหนักควรนอนพักเฉยๆ  พยายามเดินเท่าที่จำเป็น  หรือสวมรองเท้าที่ทำขึ้นเป็นพิเศษ  เพื่อหลีกเลี่ยงการลงน้ำหนักในบริเวณที่เป็นแผล

   2.4 การผ่าตัดหลอดเลือด  ในกรณีที่แผลนั้นมีการขาดเลือดเนื่องจากมีเส้นเลือดตีบแข็ง  ในขั้นแรกจะต้องวินิจฉัยโดยการฉีดสีเข้าไปในหลอดเลือดเพื่อดูว่าเส้นเลือดตีบตันหรือไม่  และจะสามารถผ่าตัดให้มีเลือดไปหล่อเลี้ยงบริเวณแผลได้ดีขึ้นหรือไม่  ซึ่งในบางครั้งก็สามารถทำได้และได้ผลค่อนข้างดีถ้าหากอยู่ในการดูแลของแพทย์ที่ชำนาญ  แต่อาการขาดเลือดซึ่งเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดฝอยนั้นไม่สามารถผ่าตัดแก้ไขได้
   
2.5 การผ่าตัดเท้าทิ้ง  จะทำต่อเมื่อไม่ส
ามารถรักษาแผลด้วยวิธี ที่กล่าวมาแล้วให้ได้ผล  ระดับที่ผ่าตัดจะอยู่ใต้เข่าหรือเหนือเข่าขึ้นอยู่กับแผล  หลังการผ่าตัดแล้วสามารถประกอบขาเทียมได้  ทำให้ผู้ป่วยเดินและเคลื่อนใหวได้ดังเดิม จะเห็นได้ว่าการรักษาแผลที่เท้า นั้นนอกจากทำให้เกิดผลเสียทางด้านจิตใจแล้วยังเสียเวลาและเสียค่าใช้จ่าย จำนวนมากตามมา  ดังนั้นการป้องกัน  และการรักษาให้ถูกต้องที่ต้นเหตุของการเกิดโรค  คือการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด  ระดับไขมันในเลือด และควบคุมความดันโลหิตให้ดี  จึงเป็นวิธีที่การที่สำคัญที่สุดที่สามารถลดโอกาสการเกิดแผลเรื้อรังจากเบา หวานได้ดีที่สุด

 

     การป้องกัน 

1.ควบคุมเบาหวานให้ดีที่สุด

2.งดการสูบบุหรี่

3.ออกกำลังกายโดยสม่ำเสมอ

4.ควบคุมไขมันในเลือดไม่ให้สูงเกินปกติ

5.รักษาโรคความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ลดการบริโภคเกลือ

6.ลดน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ                        

 

   การดูแลเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน


 

1.ควรแช่เท้าในน้ำอุ่นอาทิตย์ละ 2 ครั้ง  ครั้งละ 15- 30 นาที เพื่อกระตุ้นให้หลอดเลือดขยายตัวเพื่อไปเลี้ยงปลายเท้า
2.ควรใช้โลชั่นชนิดที่ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนังทาเท้าทุกวัน  เพื่อทำให้เท้าชุ่มชื้นอยู่เป็นประจำ  ไม่ทำให้เกิดการแห้งแตก อันเป็นที่มาของแผลต่างๆ
3.ควรสวมถุงเท้าเป็นประจำ เพื่อรักษาความชุ่มชื้นให้แก่เท้า  และป้องกันแผลที่เกิดจากการขีดข่วนต่างๆ
4.ควรหมั่นตรวจเท้าทุกวันเพื่อดูแลความสะอาด และป้องกันการเกิดแผลที่เท้า

สนใจสั่งซื้อสินค้าโทร. 089-841-5309 LINE ID :redbike2014

 

 



 

                       

 

         โรคเบาหวาน เป็นโรคที่มีการค้นพบมาเป็นเวลานาน  และมีการพัฒนาการรักษามานานกว่า 80 ปี แต่ปัญหาผู้ป่วย เบาหวาน กลับยิ่งเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ จนขณะนี้ถือว่าเป็นปัญหาทางสาธารณสุขอันดับต้นๆของโลก

          ด้วยวิวัฒนาการทางการแพทย์สมัยใหม่จึงมีการวิจัยค้นพบ สาร GTF ซึ่งเป็นกลไกสำคัญที่ช่วยให้การทำงานของฮอร์โมนอินซูลินทำงานดีขึ้นถึง 240% จนเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ นมผง GT&F ที่สามารถใช้ บำรุงร่างกายผู้ป่วยโรค เบาหวานได้ที่ต้นเหตุของการเกิดโรค ช่วยลดน้ำตาลในเลือด และบรรเทาอาการแทรกซ้อนต่างๆ เช่น แผลเรื้อรัง อาการไตเสื่อม ภูมิแพ้ ได้

          การค้นพบสาร GTF และการใช้ผลิตัณฑ์นมผง GT&F จึงช่วยให้การช่วยลดน้ำตาลในเลือดเพื่อบำรุงร่างกายผู้ป่วยโรคเบาหวาน เป็นเรื่องง่ายๆ ไม่ยุ่งยากอีกต่อไป

 



 

  • การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
  • ชนิดของโรคเบาหวาน
  • อาการโรคเบาหวาน
  • โรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน
  • ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
  • ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
  • ภาวะเลือดเป็นกรด
  • แผลเรื้อรังจากเบาหวาน
  • เบาหวานกับปลายประสาทอักเสบ
  • เบาหวานกับโรคหัวใจ ความดัน และหลอดเลือด
  • เบาหวานขึ้นตา
  • เบาหวานกับโรคไต
  • เบาหวานกับเซ็กเสื่อม
  • เบาหวานกับไขมัน
  • เบาหวานกับการตัดขา
  • เบาหวานกับพุง
  • เบาหวานกับบุหรี่
  • ภาวะดื้อต่ออินซูลินและเบาหวาน
  • เป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
  • หลักโภชนาการสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
  • การควบคุมอาหารผู้ป่วยเบาหวาน
  • อาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
  • การออกกำลังกายผู้ป่วยเบาหวาน
  • GTF ช่วยให้การควบคุมเบาหวานเป็นเรื่องง่ายๆได้อย่างไร




  

หน้าหลัก |  ข้อมูลหน่วยงาน | องค์ประกอบที่สำคัญ | รางวัลการันตี | ติดต่อเรา 

สงวนลิขสิทธิ์ตามกฏหมายโดย www.thaigtf.com