ผลลัพธ์อาจเปลี่ยนแปลงไปแต่ละบุคคล
(โปรดสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ดูแลเว๊บไซด์)
โรคเบาหวานกับโรคหัวใจ ความดัน และหลอดเลือด
โรคหัวใจ และความดันโลหิตสูงส่งผลต่อหลอดเลือด เป็นปัญหาความเจ็บป่วยสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน โรคหัวใจ โรคอัมพาต ยังก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบที่ขาอีกด้วย
กลไกการเสื่อมสภาพของหลอดเลือดจากโรคเบาหวานส่งผลอย่างไร สรุปได้ดังนี้
- เมื่อมีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงเป็นระยะเวลานาน น้ำตาลจะตกตะกอนจับตัวอยู่ตามผนังหลอดเลือดหนามากขึ้น เรื่อยๆ
- เมื่อมีน้ำตาลเหนียวๆจับตัวที่ผนังหลอดเลือด และหากมีภาวะไขมันในเลือดสูงร่วมด้วย จะทำให้ไขมันจับตัวกับน้ำตาลที่ ผนังหลอดเลือดหนาขึ้นไปอีก
- เมื่อทั้งน้ำตาลและไขมันมีความหนามากก็จะส่งผลให้ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลง กลายเป็นความกระด้างและมี ความเปราะแตกง่าย
- ในขณะเดียวกันเมื่อหลอดเลือดที่เคยกว้างและเลือดไหลเวียนสะดวกแต่กลับมีขนาดแคบลง เพราะมีชั้นของน้ำตาลและ ไขมันพอกพูนขึ้น จึงทำให้เลือดไหลไม่สะดวก จึงเป็นผลให้หัวใจต้องปรับตัวเพื่อทำให้เลือดสามารถไหลเวียนได้ ตามปกติโดยการทำงานมากขึ้นออกแรงมากขึ้นเพื่อเพิ่มการสูบฉีดเลือด จึงเป็นผลทำให้ความดันในเลือดสูง
- เมื่อหัวใจต้องทำงานหนักอยู่เป็นเวลานานเป็นผลให้กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนล้า จนทำให้เกิดโรคหัวใจตามมา
- ขณะเดียวกันการมีภาวะความดันในเลือดสูงร่วมกับการที่เส้นเลือดเปราะ จึงส่งผลให้มีความเสียงในการเกิดเส้นเลือด แตกในจุดต่างๆ และหากเป็นจุดสำคัญๆ เช่น สมอง หัวใจ หรือดวงตา ก็จะส่งผลเสียร้ายแรงได้
อาการ
ชาหรืออ่อนแรงแขนหรือขา ตาบอดเฉียบพลัน พูดลำบากเจ็บแน่นบริเวณหน้าอกข้างซ้าย และร้าวไปแขนซ้ายเวลาออกกำลังกาย พักเหนื่อยจะหายปวดเท้าบวม หัวใจเต้นผิดปกติปวดน่องหรือขาเวลาเดิน พักแล้วหายปวด
การป้องกัน
รักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด หยุดสูบบุหรี่โดยเด็ดขาด เนื่องจากทำให้หลอดเลือดตีบและทำให้ไขมันในเลือดสูงขึ้น
- คุมความดันโลหิตให้ต่ำกว่า 130/85 มม.ปรอท
- ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้ได้
- รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ เลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
- ควบคุมน้ำหนักให้เหมาะสม
- การออกกำลังกายที่เหมาะสม
- ศึกษาเกี่ยวกับอาการเตือนของโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง
การรักษาความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
คือการลดระดับความดันให้ต่ำกว่า 130/85 มม.ปรอทในผู้ป่วยเบาหวานทั่วไป และลดให้ต่ำกว่า 140/90 มม.ปรอทในผู้ป่วยเบาหวานที่อายุมาก วิธีการรักษาโดยไม่ใช้ยาทำได้โดย
การลดน้ำหนักในกรณีที่น้ำหนักเกิน พบว่าทุก 1 กิโลกรัมที่น้ำหนักลดลงจะทำให้ความดันลดลง 1 มม.ปรอท การลดน้ำหนักโดยใช้ยาเบื่ออาหารอาจจะทำให้เกิดความดันโลหิตสูงดังนั้นก่อนจะใช้ต้องปรึกษาแพทย์
- การลดเกลือในอาหารยังไม่ได้มีการทดลองในผู้ป่วยเบาหวาน แต่มีการทดลองในคนที่มีความดันโลหิตสูงพบว่าสามารถลดความดันลงได้ 5 มม.ปรอท
- งดแอลกอฮอล์
- การออกกำลังกายวันละ 30-45 นาทีจะช่วยให้ความดันโลหิตลดลง
- การงดบุหรี่
การควบคุมดังกล่าวใช้เวลา 3 เดือนจะลดความดันลงได้ 11/8 มม.ปรอท
สาร GTF ในนมผง GT&F ช่วยคุณได้อย่างไร
1.โดย GTF จะไปกระตุ้นตับให้หลั่งอินซูลิน และช่วยให้อินซูลินสามารถทำงานร่วมกับตัวรับอินซูลินได้ไวขึ้น ทำให้การขาดอินซูลินลดลง และประสิทธิภาพของอินซูลินดีขึ้นด้วย
2.ช่วยควบคุมสารอาหารต่างๆ ได้แก่ น้ำตาล กรดอมิโน และกรดใขมัน ให้เข้าสู่เซลล์ได้ตามปกติ และทำให้การเผาผลาญสารอาหารเหล่านี้เป็นไปตามปกติ จึงทำให้สามารถลดน้ำตาลในเลือดได้
3.เมื่อใขมันที่อยู่ในเส้นเลือดถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ได้ตามปกติ จงทำให้ปริมาณใขมันในเลือดลดลง เลือดก็ลดความหนืดข้น หัวใจก็ทำงานน้อยลง เป็นผลให้ความดันโลหิตลดลงด้วย
สนใจสั่งซื้อสินค้าโทร. 089-694-2954 LINE ID :@gtfhealthy
|
- การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
- ชนิดของโรคเบาหวาน
- อาการโรคเบาหวาน
- โรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน
- ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
- ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
- ภาวะเลือดเป็นกรด
- แผลเรื้อรังจากเบาหวาน
- เบาหวานกับปลายประสาทอักเสบ
- เบาหวานกับโรคหัวใจ ความดัน และหลอดเลือด
- เบาหวานขึ้นตา
- เบาหวานกับโรคไต
- เบาหวานกับเซ็กเสื่อม
- เบาหวานกับไขมัน
- เบาหวานกับการตัดขา
- เบาหวานกับพุง
- เบาหวานกับบุหรี่
- ภาวะดื้อต่ออินซูลินและเบาหวาน
- เป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
- หลักโภชนาการสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
- การควบคุมอาหารผู้ป่วยเบาหวาน
- อาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
- การออกกำลังกายผู้ป่วยเบาหวาน
- GTF ช่วยให้การควบคุมเบาหวานเป็นเรื่องง่ายๆได้อย่างไร